วันพฤหัสบดีที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563

เคื่องประดับอัปสรา



นางอัปสรา” แปลว่า “ผู้กระดิกในน้ำ” น้ำในที่นี่คือทะเลน้ำนม (เกษียรสมุทร) ที่เหล่าเทวดาและอสูรใช้เวลา 1,000 ปีช่วยกันกวนเพื่อให้ได้ น้ำอมกฤต ระหว่างที่กวนน้ำอมกฤตบังเกิดนางอัปสราจำนวน 35 ล้านองค์ มีเพียงนางอัปสราเพียงหนึ่งเดียวที่ได้เป็นพระฉายาของพระนารายณ์คือพระนางลักษมีเทวี ส่วน              นางอัปสราที่เหลือทุกองค์จึงตกเป็นของกลางแห่งสวรรค์เป็นข้าบริจาริกาของเทวดาทั่วไป นางอัปสรา หรือฉายา นางบำเรอแห่งสวรรค์ ซึ่งมีฐานะเทพที่ได้รับการยกย่องเป็นสัญลักษณ์ของความดีงาม นางอัปสราปรากฏอยู่บนปราสาทที่สร้างขึ้นตามความเชื่อของฮินดู เกือบทุกแห่งรวมทั้งปราสาทหินในประเทศไทย รูปร่างของนางอัปสราในยุคก่อนและหลังนครวัด ล้วนปรากฏรูปลักษณ์ หน้าอกใหญ่ เอวคอด รูปร่างเพรียวลม สันนิษฐานว่าเป็นรูปร่าง  ที่เป็นพิมพ์นิยมในสมัยพระชัยวรมันที่ 7
นางอัปสราสู่ระบำอัปสรา
          “ระบำอัปสรา” เป็นการแสดงที่ถือกำเนิดขึ้นมา โดยเจ้าหญิงบุปผาเทวี พระราชธิดาในเจ้านโรดมสีหนุ เพื่อเข้าฉากภาพยนตร์เกี่ยวกับนครวัดแต่กลายมาเป็นที่จดจำและเป็นระบำขวัญใจชาวพม่า ด้วยเครื่องประดับศีรษะและท่วงท่าร่ายรำ  มีลีลาการร่ายรำอันอ่อนช้อยงดงาม ตรึงตรา ตรึงใจ  อันเป็นเอกลักษณ์ที่ถอดแบบมาจากรูปสลักหินนางอัปสราในปราสาทนครวัด “ระบำอัปสรา” จึงเกิดจากแนวความคิดสร้างสรรค์ของอาจารย์เฉลย ศุขวณิช ผู้เชี่ยวชาญทาด้านนาฏศิลป์ไทย แห่งมหาวิทยาลัยนาฏศิลป์ กรมศิลปากร   ได้ประดิษฐ์ท่ารำขึ้น เพื่อให้สอดคล้องและกลมกลืนกับภาพจำหลักของนางอัปสราอันเป็นสถาปัตยกรรมศิลป์ขอมบายนตอนปลายต่อกับนครวัดตอนต้นที่ปราสาทเขาพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์และอาจารย์มนตรี ตราโมท  ได้นำเพลงเขมรกล่อมลูกและเขมรชมดงจากของเดิมมาปรับปรุงขึ้นใหม่ โดยใช้ท่ารำของนางอัปสราที่ถือดอกบัวเพื่อถวายบูชา ณ ศาสนสถานขอม ที่มีลีลาการร่ายรำอันอ่อนช้อยงดงาม  ตรึงตา ตรึงใจ ท่ารำจึงเกิดขึ้นจากจินตนาการของผู้ประดิษฐ์ท่ารำที่ต้องการถ่ายทอดความงดงามของนางอัปสราจากแผ่นศิลา
  

อ้างอิง

https://www.google.com/search?q=%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%9B%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B2&rlz=1C1CHBF_enTH850TH850&sxsrf=ALeKk01enW5JsSIt9nHcPU_6q_sGY5wzBg:1582792341695&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=2ahUKEwjLmp76qPHnAhVBWysKHS6nA2kQ_AUoAXoECAwQAw&cshid=1582792416577187&biw=1920&bih=920#imgrc=OwPnhlk2qdwtbM&imgdii=BAuW-HRujuJpfM


รำแม่บทเล็ก



      แม่บทเล็ก คือบทร้องคำกลอนที่มีการบอกชื่อของท่ารำ และมีการบรรจุบทร้องไว้ในทำนองเพลง “ชมตลาด บทกลอนแม่บทมักนิยมนำมาใช้ประกอบท่ารำเพื่อให้ผู้รำได้ฝึกลีลาการรำที่เพิ่งขึ้นหลังจากการฝึกหัดเพลงช้าและเพลงเร็ว การรำแม่บทใช้เป็นการฝึกเพื่อให้เรียนรู้ถึงวิธีการรำที่เรียกว่า “รำใช้บท” โดยกลอนรำแม่บทที่ใช้สำหรับฝึกหัดจะมีอยู่ 2 แบบ คือแม่บทเล็ก และแม่บทใหญ่

ประวัติความเป็นมา
       รำแม่บทเล็ก จัดเป็นการร่ายรำตามท่ามาตรฐาน หรือที่เรียกกันว่า “แม่ท่า” เช่นเดียวกับการรำแม่บทใหญ่ แต่กระบวนการรำของแม่บทเล็กจะสั้นกว่าการรำของแม่บทใหญ่ เนื่องจากบทกลอนรำของแม่บทใหญ่จะมีคำกลอนยาวถึง 18 คำกลอน ส่วนแม่บทเล็กมีเพียง 6 คำกลอนเท่านั้น กลอนรำแม่บทเล็กเป็นบทประพันธ์ประเภทกลอนแปดตามฉันลักษณ์ไทย ตัดตอนนำเรื่องมาจากบทละครเรื่องรามเกียรติ์ บทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 โดยการรำแม่บทเล็กนี้ได้จัดเป็นชุดการแสดงที่ใช้แสดงประกอบอยู่ในการแสดงโขน เรื่องรามเกียรติ์ ตอน พระนารายณ์ปราบนนทุก เป็นการรำของนารายณ์แปลง ซึ่งมีเค้าโครงเรื่องย่อของการแสดง ดังนี้
        นนทุก เป็นยักษ์ตนหนึ่งซึ่งอยู่ ณ เชิงเขาไกรลาส มีหน้าที่ล้างเท้าให้แก่เทพบุตรและเทพธิดาที่มาเข้าเฝ้าพระอิศวร ด้วยความสนุกคึกคะนองไม่ว่าจะด้วยเป็นมนุษย์หรือเทพจนทำให้เกิดเป็นเรื่องราวอันโกลาหล กล่าวคือ เมื่อนนทุกล้างเท้าให้เหล่าเทพบุตร เทพธิดานั้น ก็ถูกกลั่นแกล้งสารพัด รังแกด้วยการตบหัวบ้าง เขกศีรษะบ้าง ถอนผมบ้าง ทำให้นนทุกได้รับความเจ็บแค้นทรมานทั้งกายและเจ็บทั้งใจตลอดเวลา จนกระทั่งศีรษะล้าน 
   จนผมโกร๋นโล้นเกลี้ยงถึงเพียงหู 
ฮึดฮัดขัดแค้นแน่นใจ          
เป็นชายดูดู๋มาหมิ่นชาย       
คิดแล้วก็รีบเดินมา          
ดูเงาในน้ำแล้วร้องไห้
ตาแดงดั่งแสงไฟฟ้า
มิตายจะได้มาเห็นหน้า
เฝ้าพระอิศราธิบดี

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปชะดานาง              


อ้างอิง

https://www.youtube.com/watch?v=sqMO42wIDrs

เปิดวงโปงลาง







โปงลาง ดนตรีพื้นเมืองอีสานถือว่าจังหวะสำคัญมาก เครื่องดนตรีประเภทตีใช้ดำเนินทำนองอย่างเดียวคือ โปงลาง โปงลางมีวิวัฒนาการมาจากระฆังแขวนคอสัตว์เพื่อให้เกิดเสียงโปงลางที่ใช้บรรเลงอยู่ในภาคอีสานมี2 ชนิด คือ โปงลางไม้และโปงลางเหล็ก ภาพที่แสดงคือ โปงลางไม้ซึ่งประกอบด้วยลูกโปงลางประมาณสิบสองลูกเรียงตามลำดับเสียงสูง ต่ำ ใช้เชือกร้อยเป็นแผงระนาด แต่โปงลางไม่ใช้รางเพราะเห็นว่าเสียงดังอยู่แล้ว แต่นำมาแขวนกับที่แขวน ซึ่งยึดส่วนปลายกับส่วนโคนให้แผงโปงลางทำมุมกับพื้น 45องศา ไม้ตีโปงลางทำด้วยแก่นไม้มีหัวงอนคล้ายค้อนสำหรับผู้บรรเลงใช้ตีดำเนินทำนอง1 คู่ และอีก 1 คู่สำหรับผู้ช่วยใช้เคาะทำให้เกิดเสียงประสานและจังหวะตามลักษณะของดนตรีพื้นเมืองอีสานที่มีเสียงประสานรำ






อ้างอิง

https://www.youtube.com/watch?v=8qDPpbbPV6M

วันพุธที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563

การใช้คอมพิวเตอร์และการติดต่อสื่อสาร

What is Lorem Ipsum?

Lorem Ipsum simply dummy text of the printing and typesetting industry. Lorem Ipsum has been the industry's standard dummy text ever since the 1500s, when an unks nown printer tooik a galley of type and scrambled it to make a type specisimply dummy text of the printing and typesetting industry. Lorem Ipsum has been the industry's standard dummy text ever since the 1500s, when an unks nown printer tooik a galley of type and scrambled it to make a type specisimply dummy text of the printing and typesetting industry. Lorem Ipsum has been the industry's standard dummy text ever since the 1500s, when an unks nown printer tooik a galley of type and scrambled it to make a type speci








อ้างอิง:

https://www.google.com/search?q=%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B9%86&tbm=isch&ved=2ahUKEwjLjuy1mfHnAhWLRisKHW68DvYQ2-cCegQIABAA&oq&gs_l=img.1.0.35i362i39l10.24029.24029..41449...1.0..0.0.0.......0....1..gws-wiz-img.....10.aisfN5sbq0Q&ei=S25XXou9LIuNrQHu-LqwDw&bih=969&biw=1920&rlz=1C1CHBF_enTH850TH850#imgrc=hQtlHpyWB8Z6RM&imgdii=5QDQBqfb_8VsGM